top of page

การเซาะร่องด้วยลวดคาร์บอน
Air Carbon Arc Gouging (Gouging)

                    เครื่องเชื่อมจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เกิดการอาร์กระหว่างปลายแท่งคาร์บอน (Carbon Electrode) และชิ้นงาน(Work Piece) จนเกิดความร้อนทำให้ชิ้นงานหลอมละลาย(Molten Pool) จากนั้นเป่าลม (Air Jet) ที่มีแรงดัน 5-7 บาร์ (80-100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) และปริมาณลม 600-850 ลิตรต่อนาที ในทิศทางที่ขนานกับแท่งคาร์บอนไปยังบริเวณที่ชิ้นงานหลอมละลาย เพื่อไล่น้ำโลหะ (Molten Metal) ออกจน เกิดการตัด และเซาะร่อง (Groove Depth) ตามแนวที่ต้องการ เป็นกระบวนการตัดโลหะ เซาะร่องเพื่อเตรียมรอยต่อ หรือเซาะเอาโลหะส่วนที่มีจุดบกพร่องออกเพื่อเชื่อมแก้ไขงานใหม่ เครื่องอัดอากาศที่ใช้ เริ่มต้นตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป

เกร็ดความรู้_รูป_การเซาะร่องด้วยลวดคาร์บอน.png
เกร็ดความรู้_รูป_แท่งลวดคาร์บอน.png
ตาราง3.png

ตารางข้อมูลการปรับกระแสลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ช่วงกระแสไฟที่
ลวดคาร์บอน
ทำงานได้
(แอมป์)

การปรับกระแสไฟ กับ ร่องเหล็กที่เซาะได้

ขนาดร่องเหล็กที่เซาะได้

กระแสไฟที่ใช้
(แอมป์)

ร่องกว้าง (มม.)

ร่องลึก (มม.)

ขนาดแท่ง
คาร์บอน
(มม.)

4.0

5.0

6.5

8.0

9.5

90 - 200

150 - 200

200 - 400

250 - 450

100 - 200

150 - 200

200 - 250

250 - 350

6 - 8

7 - 9

9 - 11

11 - 13

3 - 4

3 - 5

4 - 6

6 - 9

11.0

25.4

12.7

15.9

19.0

450 - 600

350 - 600

1800 - 2200

600 - 1000

800 - 1200

1200 - 1600

450 - 600

350 - 450

-

800 - 900

1000 - 1200

1450 - 1600

14 - 16

13 - 15

-

15 - 19

17 - 22

20 - 28

10 - 13

8 - 12

-

10 - 16

11 - 19

17 - 25

การติดตั้งเครื่องเซาะร่อง

เกร็ดความรู้_รูป_การติดตั้งเครื่องเซาะร่อง.png
bottom of page